การสร้างข้อมูลให้เป็นความลับ
การเข้ารหัส (Coding) คือ กระบวนการแปลงรูปแบบของ ข้อมูลให้อยู่ในรูปที่บุคคลอื่นๆ ไม่สามารถรู้เนื้อหาของข้อมูล ยกเว้นบุคคลที่เป็นผู้รับ
การยุบตัวซ้ำ (Compression) มักใช้กับข้อมูลประเภทตัวเลขหรือข้อมูลที่แปลงเป็นเลขฐานสองแล้ว ยังช่วยประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บและเวลาในการส่งข้อมูลด้วย
การแทนค่า (Substitution) คล้ายการเข้ารหัส แต่จะเป็นการกำหนดค่าที่จะแทนล่วงหน้า
การสลับตำแหน่งข้อมูล (Transposition) ไม่ได้เปลี่ยนแปลงข้อมูล แต่ใช้การสลับตำแหน่ง
การกำหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล
การกำหนดสิทธิในการเรียกดูข้อมูล
GRANT SELECT ON CUSTOMERSTAB TO Wichai;
การกำหนดสิทธิในการเพิ่มข้อมูล
GRANT INSERT ON SALESTAB TO Thidarat;
การกำหนดสิทธิในการแก้ไขข้อมูล
GRANT UPDATE ON SALESTAB TO Thidarat;
การกำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูลหลายคำสั่งของผู้ใช้เป็นกลุ่ม
GRANT SELECT, INSERT ON ORDERSTAB TO Wichai;
GRANT SELECT, INSERT ON ORDERSTAB TO Wichai, Thidarat;
การกำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูลโดยสามารถเข้าถึงข้อมูลบางส่วน
GRANT UPDATE (SALECOM) ON SALESTAB TO Thidarat;
GRANT UPDATE (ADDRESS,SALECOM) ON SALESTAB TO Thidarat;
Software Data Manangement
วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2553
การสำรองข้อมูลและการฟื้นสภาพข้อมูล
การสำรองข้อมูล
ฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมี
ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลและเก็บข้อมูลเหล่านี้ไว้ที่
ศูนย์กลาง เพื่อที่จะนำข้อมูลเหล่านมี้ าใช้ร่วมกัน
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) คือ การบริหารแหล่งข้อมูลที่ถูก
เก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อตอบสนองต่อการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ และลดการ
ซา้ํ ซ้อนของข้อมูล รวมทงั้ ลดความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขนึ้ ภายในหน่วยด้วย
ตัวอย่าง : การจัดระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น ฐานข้อมูลงบประมาณและ
การเงิน ฐานข้อมูลกำลังพล ฐานข้อมูลพัสดุ ฐานข้อมูลบัญชีทรัพย์สิน และฐานข้อมูล
งานวิจัย เป็นต้น
การจัดการฐานข้อมูลต้องอาศัยโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่
จะเก็บไว้ในฐานข้อมูลอำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่
ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใด เช่น ให้อ่านข้อมูล
ได้อย่างเดียวหรือให้แก้ไขข้อมูลได้ด้วย นอกจากนนั้ ยังอำนวยความสะดวกในการค้นหา
ข้อมูล การแก้ไขปรับปรุงข้อมูล ตลอดจนการจัดทำข้อมูลสำรองด้วย โดยอาศัยโปรแกรม
ที่เรียกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) ซึ่ง
โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft SQL, Oracle,
Informix, Visual Fox และ Microsoft Access เป็นต้น
ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล
1) จัดเก็บและบันทึกข้อมูล (Data Storage)
2) ลดความซา้ํ ซ้อนของข้อมูล (Reduce Data Redundancy)
3) สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Data Concurrency)
4) ลดความขัดแย้งหรือแตกต่างกันของข้อมูล (Reduce Data Inconsistency)
5) ป้องกันการแก้ไขข้อมูลต่างๆ (Protect Data Editing)
ความถูกต้องของข้อมูลมีมากขนึ้ (Data Accuracy) 6)
7) สะดวกในการสืบค้นข้อมูล (Data Retrieval or Query
8) ป้องกันการสูญหายของข้อมูล หรือฐานข้อมูลถูกทำลาย (Data Security)
9) เกิดการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศ (Apply Information System)
การฟื้นสภาพข้อมูล
ฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมี
ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลและเก็บข้อมูลเหล่านี้ไว้ที่
ศูนย์กลาง เพื่อที่จะนำข้อมูลเหล่านมี้ าใช้ร่วมกัน
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) คือ การบริหารแหล่งข้อมูลที่ถูก
เก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อตอบสนองต่อการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ และลดการ
ซา้ํ ซ้อนของข้อมูล รวมทงั้ ลดความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขนึ้ ภายในหน่วยด้วย
ตัวอย่าง : การจัดระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น ฐานข้อมูลงบประมาณและ
การเงิน ฐานข้อมูลกำลังพล ฐานข้อมูลพัสดุ ฐานข้อมูลบัญชีทรัพย์สิน และฐานข้อมูล
งานวิจัย เป็นต้น
การจัดการฐานข้อมูลต้องอาศัยโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่
จะเก็บไว้ในฐานข้อมูลอำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่
ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใด เช่น ให้อ่านข้อมูล
ได้อย่างเดียวหรือให้แก้ไขข้อมูลได้ด้วย นอกจากนนั้ ยังอำนวยความสะดวกในการค้นหา
ข้อมูล การแก้ไขปรับปรุงข้อมูล ตลอดจนการจัดทำข้อมูลสำรองด้วย โดยอาศัยโปรแกรม
ที่เรียกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) ซึ่ง
โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft SQL, Oracle,
Informix, Visual Fox และ Microsoft Access เป็นต้น
ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล
1) จัดเก็บและบันทึกข้อมูล (Data Storage)
2) ลดความซา้ํ ซ้อนของข้อมูล (Reduce Data Redundancy)
3) สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Data Concurrency)
4) ลดความขัดแย้งหรือแตกต่างกันของข้อมูล (Reduce Data Inconsistency)
5) ป้องกันการแก้ไขข้อมูลต่างๆ (Protect Data Editing)
ความถูกต้องของข้อมูลมีมากขนึ้ (Data Accuracy) 6)
7) สะดวกในการสืบค้นข้อมูล (Data Retrieval or Query
8) ป้องกันการสูญหายของข้อมูล หรือฐานข้อมูลถูกทำลาย (Data Security)
9) เกิดการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศ (Apply Information System)
การฟื้นสภาพข้อมูล
ประเภทของการเกิดความขัดข้อง ความขัดข้องของระบบ จะมีผลกระทบต่อทรานแซกชัน แต่ไม่ทำลายข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูล เรียกว่า ซอฟต์แครช (Soft Crash) ความขัดข้องของทรายแซกชัน จะมีผลกระทบต่อทรายแซกชันที่มีความขัดข้องเท่านั้น เช่น การกำหนดขอบเขตของทรานแซกชัน, การเกิด overflow ในการทำวิธีการฟื้นสภาพการฟื้นสภาพแบบล็อกเบส (log-based recovery) โดยการใช้ไฟล์ประวัติเข้ามาช่วยในการฟื้นสภาพรายละเอียดของไฟล์ประวัติ ประกอบด้วย ชื่อทรานแซกชัน, ชื่อเดตาไอเท็ม, ค่าเก่าของดาตาไอเท็มก่อนทำการบันทึก และค่าใหม่ของดาตาไอเท็มหลังทำการบันทึก วิธีการฟื้นสภาพ มี 3 วิธี คือ การยกเลิก(Undo), การทำซ้ำ(Redo), จุดตรวจสอบ(Checkpoint) งาน เป็นต้น
ข้อดีของระบบฐานข้อมูล
การใช้ข้อมูลร่วมกัน (data sharing) คือข้อมูลและสารสนเทศจากหน่วยงานหนึ่งสามารถใช้งานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้
ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล (reduce data redundancy) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะรวบรวมไว้ในที่เดียวกัน หน่วยงานต่าง ๆ สามารถที่จะเรียกใช้แฟ้มข้อมูลเดียวกันได้ ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลและลดความซ้ำซ้อนลงได้
ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น (improved data integrity) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะเก็บไว้ในที่แห่งเดียวกัน หากมีการแก้ไขข้อมูลใด ๆ ก็จะปรับปรุง ณ แห่งเดียว ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล (increased security) คือ การเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จะถูกกำหนดสิทธิ์ด้วยรหัสผ่าน (password) ให้สามารถเข้าใช้ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
มีความเป็นอิสระของข้อมูล (data independency) คือ หากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของตารางในฐานข้อมูล ก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ จึงเกิดความเป็นอิสระระหว่างการจัดเก็บข้อมูลและการประยุกต์ใช้
ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล (reduce data redundancy) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะรวบรวมไว้ในที่เดียวกัน หน่วยงานต่าง ๆ สามารถที่จะเรียกใช้แฟ้มข้อมูลเดียวกันได้ ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลและลดความซ้ำซ้อนลงได้
ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น (improved data integrity) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะเก็บไว้ในที่แห่งเดียวกัน หากมีการแก้ไขข้อมูลใด ๆ ก็จะปรับปรุง ณ แห่งเดียว ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล (increased security) คือ การเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จะถูกกำหนดสิทธิ์ด้วยรหัสผ่าน (password) ให้สามารถเข้าใช้ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
มีความเป็นอิสระของข้อมูล (data independency) คือ หากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของตารางในฐานข้อมูล ก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ จึงเกิดความเป็นอิสระระหว่างการจัดเก็บข้อมูลและการประยุกต์ใช้
ระบบฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System:DBMS) เป็นซอฟต์แวร์ระบบที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล เปรียบเหมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล
วัตถุประสงค์ไนการจัดเก็บข้อมูล
การเก็บข้อมูล สามารถนำกลับมาใช้งานได้อีกในภายหลัง
การจัดข้อมูล สามารถนำกลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การปรับปรุงข้อมูล สามารถปรับปรุงข้อมูลให้เป็นข้อมูลปัจจุบันอยู่เสมอ
การปกป้องข้อมูล ป้องกันข้อมูลให้มีความปลอดภัยจากการลักลอบใช้งาน หรือแก้ไข
การจัดข้อมูล สามารถนำกลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การปรับปรุงข้อมูล สามารถปรับปรุงข้อมูลให้เป็นข้อมูลปัจจุบันอยู่เสมอ
การปกป้องข้อมูล ป้องกันข้อมูลให้มีความปลอดภัยจากการลักลอบใช้งาน หรือแก้ไข
ข้อมูล (Data)
ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ การจัดการข้อมูล (data management) เป็นกลยุทธ์ที่ใช้ในการบริหารองค์การให้มีประสิทธิภาพ และต้องมีการตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ในการทำธุรกิจในยุคปัจจุบัน
Database (ฐานข้อมูล) คืออะไร
Database (ฐานข้อมูล) คืออะไร คือ ระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่งประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบเดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูลที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเปรียบฐานข้อมูลเสมือนเป็น electronic filing system

- บิต (bit) ย่อมาจาก Binary Digit ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะคือ 0 หรือ 1 การเก็บข้อมูลต่างๆได้จะต้องนำ บิต หลายๆ บิต มาเรียงต่อกัน เช่นนำ 8 บิต มาเรียงเป็น 1 ชุด เรียกว่า 1ไบต์ เช่น
10100001 หมายถึง ก
10100010 หมายถึง ข - เมื่อเรานำ ไบต์ (byte) หลายๆ ไบต์ มาเรียงต่อกัน เรียกว่า เขตข้อมูล (field) เช่น Name ใช้เก็บชื่อ LastName ใช้เก็บนามสกุล เป็นต้น
- เมื่อนำเขตข้อมูล หลายๆ เขตข้อมูล มาเรียงต่อกัน เรียกว่า ระเบียน (record) เช่น ระเบียน ที่ 1 เก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของ นักเรียนคนที่ 1 เป็นต้น
- การเก็บระเบียนหลายๆระเบียน รวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) เช่น แฟ้มข้อมูล นักเรียน จะเก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของนักเรียน จำนวน 500 คน เป็นต้น
- การจัดเก็บ แฟ้มข้อมูล หลายๆ แฟ้มข้อมูล ไว้ภายใต้ระบบเดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล หรือ Database เช่น เก็บ แฟ้มข้อมูล นักเรียน อาจารย์ วิชาที่เปิดสอน เป็นต้น

สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)